ReadyPlanet.com
dot dot
dot
หลักสูตรอบรม In-house training
dot
bulletหมวดบริหารและการจัดการ
bulletหมวดการบริหารงานด้านคุณภาพ
bulletหมวดการบริหารการผลิต
bulletหมวดระบบปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์
bulletบริการที่ปรึกษา Consulting service
bulletประวัติ ดร. ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์
bulletบทความ
bulletผลงานหนังสือ
bulletผลงานกิจกรรมอบรมที่ผ่านมา
bulletกิจกรรมเพื่อสังคม CSR
bulletหลักสูตรอบรมยอดนิยม
bulletหัวหน้างานที่เป็นเลิศ NEX NORMAL
bulletการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม QC Story แบบ Theme Achievement
bulletการบริหารเวลาเพื่อความสำเร็จ
bulletภาวะผู้นำและการเป็นหัวหน้างานที่ลูกน้องรักและบริษัทเชิดชู
bulletการพัฒนา 10 ความสามรถหลักเพื่อก้าวสู่สุดยอดหัวหน้างาน
bulletการเป็นที่ปรึกษากลุ่มกิจกรรมคิวซีซี (QCC Advisor)
bulletการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม QCC อย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการนำ KPI ไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ (Effectiveness KPI Application)
bulletการเขียน Action Plan อย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการวิเคราะห์ต้นตอของปัญหาด้วย Why Why Analysis
bulletการรายงานและการนำเสนองานอย่างมีประสิทธิภาพ
bulletกลยุทธ์การแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ
bulletการดำเนินกิจกรรม 5ส. อย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการจัดการผลิตและปฎิบัติการ
bulletการควบคุมด้วยสายตา (Visual control)
bulletการลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
bulletเทคนิคการเป็นวิทยากรและการสร้างหลักสูตร
bulletการสร้างจิตสำนึกคุณภาพภาคปฏิบัติ
bulletการดำเนินกิจกรรม KAIZEN ให้เกิดความต่อเนื่องและประสบผลสำเร็จ
dot
แบ่งปันความรู้
dot
dot
dot




สร้างทีมด้วยทฤษฎีเกมส์ (Game Theory)

การสร้างทีมด้วย ทฤษฎีเกมส์ (Games Theory)
 “ในการแข่งขัน เกม O/X มีผู้เข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน กติกามีอยู่ว่า จับคู่กัน โดยให้เวลาแข่งขัน 10 นาที ถ้าใครทำจำนวนเกมได้มากที่สุด ก็จะได้ไปรับประทานอาหารฟรี 1 มื้อ” 
 ถามว่าบรรยากาศในการแข่งขันจะเป็นอย่างไร?  คงหน้างิ่ว คิ้วขมวด กันน่าดูใช่ไหมครับ?

 เมื่อเวลาผ่านไป 10 นาที ผลสรุปออกมาดังนี้
 คู่ที่ 1 คะแนนสูงสุด คือ  6  เกม ส่วนผู้ที่ได้รองมาคือ 4 เกม จากการแข่งขันทั้งหมด 10 เกม

 คู่ที่ 2 คะแนนสูงสุด คือ  8  เกม ส่วนผู้ที่ได้รองมาคือ 5 เกม   จากการแข่งขั้นทั้งหมด 13 เกม 

 คู่ที่ 3 คะแนนสูงสุด คือ 15 เกม ส่วนผู้ที่ได้รองมาคือ 14 เกม  จากการแข่งขันทั้งหมด 29 เกม


  ผลการแข่งขัน ผู้ที่ได้ไปรับประทานอาหารฟรี มาจากคู่ที่ 3 ได้สูงสุด คือ 15 เกม 
 จากผลการแข่งขันดังกล่าวท่านเห็นอะไรบ้าง?.................
 จากการสัมภาษณ์ ผู้ที่รับรางวัล ถึงสาเหตุที่ทำให้ได้คะแนนสูงที่สุด เขากล่าวว่า “เราใช้วิธีตกลงกันว่า ถ้าเราแข่งขันกันอย่างจริงจัง เราก็จะต้องเครียด และผู้ที่ชนะเท่านั้นที่จะได้รับรางวัล แต่ถ้าเราสองคนร่วมมือกัน โดยต่างคน ต่างผลัดกันแพ้ ผลัดกันชนะ คนละหนึ่งตา ก็จะทำให้เราได้จำนวนเกมส์สูงที่สุด และสำหรับรางวัลที่ได้ เราก็ไปกินอาหารด้วยกัน เท่านี้เองครับ” และนั่นคือเหตุผลที่ทำให้คู่ที่สามมีจำนวนเกมส์ สูงถึง 29 เกมส์ ซึ่งมากกว่าสองเท่าของทีมอื่น จากคำตอบดังกล่าว นำมาอธิบายตามแผนภาพได้ดังนี้
ผลการแข่งขัน A ชนะ  A แพ้
B ชนะ ได้รางวัลทั้งคู่ ได้รางวัลเฉพาะ B
B แพ้ ได้รางวัลเฉพาะ A  อดทั้งคู่

 ถ้าทั้งสองคนต่างคนต่าแข่งขันกันอย่างเอาจริงเอาจังแล้วละก็ ก็จะทำให้มีคนใดคนหนึ่งแพ้ หรือชนะ และก็จะทำให้มีคนอดได้รางวัล หรืออาจอดด้วยกันทั้งคู่ แต่ถ้าทั้งสองคนร่วมมือกัน  นั่นหมายความว่าต่างคนต่างชนะ ซึ่งทำให้ได้รับรางวัลเท่าๆกัน ซึ่งก็คือ การได้ไปรับประทานอาหารฟรี นี่คือหลักการของ ทฤษฎี เกมส์  (Games Theory) ของ ศาสตราจาย์ แนช (ที่ผมเคยเรียนเมื่อประมาณ 15 ปีก่อน) ส่งผลให้ท่านได้รับรางวัลโนเบลสาขา เศรษฐศาสตร์  
ถ้าเราย้อนกลับมาที่หน่วยงานของเราบ้างล่ะ ถ้าเปรียบเทียบแต่ละคู่ คือบริษัทคู่แข่งของเรา และคู่แข่งแต่ละคน ก็คือ พนักงานที่ทำงานกันอยู่ในบริษัทนั้น ถ้าพนักงานแต่ละคน มัวแต่ขัดแย้งกัน ทะเลาะกัน หรือไม่สามัคคีกัน แล้วละก็ เราจะชนะบริษัทคู่แข่งของเราได้อย่างไรจริงไหมครับ? เพราะถ้าคู่แข่งของเรา ทำงานเหมือนกับคู่ที่ 3 คือ ช่วยเหลือกัน สามัคคีกัน ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้คือ ความสำเร็จอย่างไม่ต้องสงสัย 
 สุดท้าย ก็ขึ้นอยู่กับท่านล่ะครับว่า จะเลือกเป็นแบบไหน อยากเครียด แล้วไม่ประสบความสำเร็จ หรืออยากมีความสุข แถมประสบความสำเร็จอีกต่างหาก ก็เลือกกันเอาเองแล้วกันนะครับ.................





บทความอาจารย์ ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์

เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,253 เคล็ดลับแห่งความร่ำรวย article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,252 เคล็ดลับไ่ม่อยากจน ห้ามทำสิ่งนี้ article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,251 เคล็ดลับ Morning Talk อย่างไรให้ได้คน ได้งาน article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,250 ปัญหาบานปลายเพราะละเลยสิ่งนี้ article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,249 เปิดเหตุผลที่ทำงานไม่สำเร็จ ผลงานไม่เข้าเป้า article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,248 ลดปัญหาการส่งอีเมลล์แล้วไม่รู้เรื่อง เมื่อทำสิ่งนี้ article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,247 ข้อเตือนใจที่หัวหน้างานมักผิดพลาด article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,246 ข้อควรปฏิบัติเมื่อพนักงานทำงานล่าช้า article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,245 5 วิธีการที่พิสูจน์แล้วว่าดีที่สุดวิธีหนึ่งในการสร้างกำไร และการเติบโต TPS (TOYOTA PRODUCTION SYSTEM) article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,244 ข้อปฏิบัติเมื่อไม่เห็นด้วยกับความคิดของหัวหน้า
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,243 ข้อปฏิบัติเมื่อพนักงานพบของเสีย หรือความผิดปกติ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,242 กิจกรรมช่วยสร้างความตระหนักในคุณภาพ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,241 5 แนวคิดหลักเพื่อเอาตัวรอด เมื่ออยู่กับคนเป็นพิษ TOXIC People
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,240 ฝันเป็นจริง เมื่อลงมือทำ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,239 การผลิตรูปแบบเก่า VS การผลิตรูปแบบใหม่
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,238 จังหวะนั้นสำคัญ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,237 จิตปล่อยวาง = สงบ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,236 ผู้นำที่ดีต้องไม่ขัดขวางความก้าวหน้าของลูกน้อง
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,235 ช่วยได้ช่วย มีน้ำใจให้ผู้อื่นนั้นสำคัญ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,234 หลุมพรางของคนขี้เกียจ



Copyright © 2010 All Rights Reserved.

อาจารย์ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์ BT CORPORATION CO,.LTD. ที่อยู่ : 100/834 ต.ลำตาเสา อ.วังน้อย
จ.พระนครศรีอยุธยา      รหัสไปรษณีย์ 13170
เบอร์โทร :  089-9273326 หรือ 089-8118340
อีเมล : tpongvarin@yahoo.com หรือ sangsankit@gmail.com
เว็บไซต์ : www.bt-training.com