ReadyPlanet.com
dot dot
dot
หลักสูตรอบรม In-house training
dot
bulletหมวดบริหารและการจัดการ
bulletหมวดการบริหารงานด้านคุณภาพ
bulletหมวดการบริหารการผลิต
bulletหมวดระบบปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์
bulletบริการที่ปรึกษา Consulting service
bulletประวัติ ดร. ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์
bulletบทความ
bulletผลงานหนังสือ
bulletผลงานกิจกรรมอบรมที่ผ่านมา
bulletกิจกรรมเพื่อสังคม CSR
bulletหลักสูตรอบรมยอดนิยม
bulletหัวหน้างานที่เป็นเลิศ NEX NORMAL
bulletการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม QC Story แบบ Theme Achievement
bulletการบริหารเวลาเพื่อความสำเร็จ
bulletภาวะผู้นำและการเป็นหัวหน้างานที่ลูกน้องรักและบริษัทเชิดชู
bulletการพัฒนา 10 ความสามรถหลักเพื่อก้าวสู่สุดยอดหัวหน้างาน
bulletการเป็นที่ปรึกษากลุ่มกิจกรรมคิวซีซี (QCC Advisor)
bulletการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม QCC อย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการนำ KPI ไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ (Effectiveness KPI Application)
bulletการเขียน Action Plan อย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการวิเคราะห์ต้นตอของปัญหาด้วย Why Why Analysis
bulletการรายงานและการนำเสนองานอย่างมีประสิทธิภาพ
bulletกลยุทธ์การแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ
bulletการดำเนินกิจกรรม 5ส. อย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการจัดการผลิตและปฎิบัติการ
bulletการควบคุมด้วยสายตา (Visual control)
bulletการลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
bulletเทคนิคการเป็นวิทยากรและการสร้างหลักสูตร
bulletการสร้างจิตสำนึกคุณภาพภาคปฏิบัติ
bulletการดำเนินกิจกรรม KAIZEN ให้เกิดความต่อเนื่องและประสบผลสำเร็จ
dot
แบ่งปันความรู้
dot
dot
dot




Easy 7QC Tools เครื่องมือที่ 7 แผนภูมิควบคุม (Control Chart) (ตอนที่ 1)

 Easy 7QC Tools เครื่องมือที่ 7 แผนภูมิควบคุม (Control Chart) (ตอนที่ 1)

โดย ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์ Email:tpongvarin@yahoo.com Mobile:089-8118340

facebook: Thongpunchang Pongvarin , BT-Corporation

******************************************************************************************************

 

             สวัสดีครับทุกท่าน บทความตอนนี้ผมขอนำเสนอเครื่องมือที่ 7 ที่มีชื่อว่า แผนภูมิควบคุม ซึ่งเป็นเครื่องมือสุดท้ายใน 7 เครื่องมือบริหารคุณภาพ (แบบเก่า) ซึ่งเครื่องมือนี้ผมทั้งได้เรียนในมหาวิทยาลัย และได้ใช้จริงในชีวิตการทำงาน เรามาเรียนรู้จากตัวอย่างจริงของการนำไปประยุกต์ใช้ของบริษัทแห่งหนึ่งกันเลยนะครับ

        กว่าจะมาเป็นสินค้า หรือบริการต้องมีการนำปัจจัยการผลิตต่างๆ ซึ่งได้แก่ คน (Man)  เครื่องจักรและเครื่องมือ อุปกรณ์ (Machine &Tools) วัตถุดิบ (Material)  วิธีการปฏิบัติงาน(Method)   การวัด (Measurement)  การบริหารจัดการ (Management) และ สภาพแวดล้อม (Environment) ในการปฏิบัติงาน เป็นต้น มาผ่านกระบวนการตามที่เรากำหนดเอาไว้ ตั้งแต่กระบวนการแรก จนถึงกระบวนการสุดท้าย เพื่อทำให้เราเกิดความมั่นใจที่สุดว่า จะได้สินค้า หรือบริการที่เราคาดหวัง หรือต้องการ อย่างไรก็ดีการปฏิบัติงานก็อาจจะมีความผิดพลาด จนทำให้เกิดความผันผวน ซึ่งก็อาจจจะเกิดจากปัจจัยการผลิตดังที่ได้กล่าวมาแล้ว หรือแม้แต่ภายในกระบวนการผลิตเองก็อาจจะเป็นได้  

            แผนภูมิการควบคุมเชิงปริมาณ เป็นการศึกษาและควบคุมกระบวนการผลิตของงานที่เราทำอยู่ทุกวัน และผลการปฏิบัตินั้นจะออกมาเป็นตัวเลข ซึ่งได้มาจาก การชั่ง ตวง หรือวัด ได้แก่ น้ำหนัก เป็นกรัม กิโลกรัม  ความยาว เซ็นติเมตร ความหนาเป็นไมครอนเป็นต้น สำหรับขั้นตอนการประยุกต์ใช้แผนภูมิควบคุมมีดังนี้

                    1. เก็บรวบรวมสินค้ามาจำนวนหนึ่ง แล้วทำการวัดค่า ตามคุณสมบัติที่เราต้องการควบคุม ให้ได้ออกมาเป็นตัวเลข 

                    2. คำนวนหาค่าเฉลี่ย x bar  , R และ s2  

                    3. ทำการคำนวนหาค่าของเส้นควบคุมบน (Upper Control Limit) เส้นควบคุม (Control Limit) และเส้นควบคุมล่าง (Lower Control Limit)

                    4. เขียนแผนภูมิการควบคุม และเขียนจุดของฟังก์ชั่นต่างๆ

                    5. อ่านค่า และสรุปผล ที่เกิดขึ้น

หลังจากที่เราพิจารณาข้อมูลแล้ว ถ้าหากเราพบมีจุดออกนอกเส้นควบคุมแล้วละก็ อย่ารอช้ารีบค้นหาสาเหตุทันที โดยสาเหตุส่วนใหญ่ที่ทำให้จุดอยู่นอกเส้นควบคุมได้แก่ การวัดค่า หรือบันทึกผลผิดพลาด และ ความผิดพลาดที่เกิดจากภายในกระบวนการผลิตเอง ซึ่งเราก็ต้องรีบหาต้นตอ แล้วจัดการกับปัญหานั้นทันทีนะครับ สำหรับสิ่งที่เราควรพิจารณาในการนำแผนภูมิควบคุมไปประยุกต์ใช้ ได้แก่

1.  ความถี่ในการที่เราจะสุ่มสินค้าว่าบ่อยแค่ไหน? ถ้าสุ่มบ่อย ก็วัดค่าบ่อย เสียเวลามาก ถ้าสุ่มน้อย ของเสียหลุด แล้วเราไม่รู้ อันนี้ก็ปัญหาเหมือนกัน ต้องพิจารณาให้ดี

2.  เราควรจะเก็บตัวอย่างสักกี่ชิ้นดีล่ะ จึงจะเหมาะสมที่สุด

3.  หากมีจุดอยู่นอกเส้นควบคุมแล้ว จะต้องทำอย่างไรบ้าง?

4.  เส้นควบคุมที่เราจัดทำขึ้นมานั้นเป็นอย่างไร? เหมาะสมไหม? และเราควรปรับให้แคบ หรือกว้างขึ้นจะดีไหม?

          สำหรับจำนวน และความถี่ในการสุ่ม ความเชื่อมั่นของข้อมูล ก็มีหลักการเช่นกัน แต่เดี๋ยวค่อยมาอธิบายแล้วกันนะครับ สำหรับบทความตอนต่อไป ผมจะนำเสนอตัวอย่างการประยุกต์ใช้ แผนภูมิควบคุมอย่างง่ายๆ อย่าลืมติดตามนะครับ .....

 




บทความอาจารย์ ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์

เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,253 เคล็ดลับแห่งความร่ำรวย article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,252 เคล็ดลับไ่ม่อยากจน ห้ามทำสิ่งนี้ article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,251 เคล็ดลับ Morning Talk อย่างไรให้ได้คน ได้งาน article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,250 ปัญหาบานปลายเพราะละเลยสิ่งนี้ article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,249 เปิดเหตุผลที่ทำงานไม่สำเร็จ ผลงานไม่เข้าเป้า article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,248 ลดปัญหาการส่งอีเมลล์แล้วไม่รู้เรื่อง เมื่อทำสิ่งนี้ article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,247 ข้อเตือนใจที่หัวหน้างานมักผิดพลาด article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,246 ข้อควรปฏิบัติเมื่อพนักงานทำงานล่าช้า article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,245 5 วิธีการที่พิสูจน์แล้วว่าดีที่สุดวิธีหนึ่งในการสร้างกำไร และการเติบโต TPS (TOYOTA PRODUCTION SYSTEM)
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,244 ข้อปฏิบัติเมื่อไม่เห็นด้วยกับความคิดของหัวหน้า
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,243 ข้อปฏิบัติเมื่อพนักงานพบของเสีย หรือความผิดปกติ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,242 กิจกรรมช่วยสร้างความตระหนักในคุณภาพ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,241 5 แนวคิดหลักเพื่อเอาตัวรอด เมื่ออยู่กับคนเป็นพิษ TOXIC People
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,240 ฝันเป็นจริง เมื่อลงมือทำ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,239 การผลิตรูปแบบเก่า VS การผลิตรูปแบบใหม่
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,238 จังหวะนั้นสำคัญ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,237 จิตปล่อยวาง = สงบ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,236 ผู้นำที่ดีต้องไม่ขัดขวางความก้าวหน้าของลูกน้อง
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,235 ช่วยได้ช่วย มีน้ำใจให้ผู้อื่นนั้นสำคัญ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,234 หลุมพรางของคนขี้เกียจ



Copyright © 2010 All Rights Reserved.

อาจารย์ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์ BT CORPORATION CO,.LTD. ที่อยู่ : 100/834 ต.ลำตาเสา อ.วังน้อย
จ.พระนครศรีอยุธยา      รหัสไปรษณีย์ 13170
เบอร์โทร :  089-9273326 หรือ 089-8118340
อีเมล : tpongvarin@yahoo.com หรือ sangsankit@gmail.com
เว็บไซต์ : www.bt-training.com