ReadyPlanet.com
dot dot
dot
หลักสูตรอบรม In-house training
dot
bulletหมวดบริหารและการจัดการ
bulletหมวดการบริหารงานด้านคุณภาพ
bulletหมวดการบริหารการผลิต
bulletหมวดระบบปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์
bulletบริการที่ปรึกษา Consulting service
bulletประวัติ ดร. ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์
bulletบทความ
bulletผลงานหนังสือ
bulletผลงานกิจกรรมอบรมที่ผ่านมา
bulletกิจกรรมเพื่อสังคม CSR
bulletหลักสูตรอบรมยอดนิยม
bulletหัวหน้างานที่เป็นเลิศ NEX NORMAL
bulletการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม QC Story แบบ Theme Achievement
bulletการบริหารเวลาเพื่อความสำเร็จ
bulletภาวะผู้นำและการเป็นหัวหน้างานที่ลูกน้องรักและบริษัทเชิดชู
bulletการพัฒนา 10 ความสามรถหลักเพื่อก้าวสู่สุดยอดหัวหน้างาน
bulletการเป็นที่ปรึกษากลุ่มกิจกรรมคิวซีซี (QCC Advisor)
bulletการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม QCC อย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการนำ KPI ไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ (Effectiveness KPI Application)
bulletการเขียน Action Plan อย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการวิเคราะห์ต้นตอของปัญหาด้วย Why Why Analysis
bulletการรายงานและการนำเสนองานอย่างมีประสิทธิภาพ
bulletกลยุทธ์การแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ
bulletการดำเนินกิจกรรม 5ส. อย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการจัดการผลิตและปฎิบัติการ
bulletการควบคุมด้วยสายตา (Visual control)
bulletการลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
bulletเทคนิคการเป็นวิทยากรและการสร้างหลักสูตร
bulletการสร้างจิตสำนึกคุณภาพภาคปฏิบัติ
bulletการดำเนินกิจกรรม KAIZEN ให้เกิดความต่อเนื่องและประสบผลสำเร็จ
dot
แบ่งปันความรู้
dot
dot
dot




เครื่องมือง่ายๆ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนและควบคุมการผลิต <22/07/53>
เขียนโดย ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์ 
Email:tpongvarin@yahoo.com, www.bt-training.com, Tel:089-8118340
วันที่เขียน 22 กรกรฎาคม 2553
   เมื่อสัปดาห์ก่อนผมไปบรรยายหลักสูตรการวางแผน และควบคุมการผลิต (Production Planning and Controlling)
จากการแลกเปลี่ยนแนวคิดกับผู้รับการอบรมในห้อง พบปัญหาที่คล้ายกันนั่นก็คือ
" มักจะเกิดความขัอแย้งระหว่าง การวางแผน (Planning) กับฝ่ายผู้ปฏิบัติ (Production) "
ซึ่งปัญหาที่มักจะเกิดขึ้น คือ
  • นโยบายเกี่ยวกับการบริหารงานของผู้บริหารไม่ชัดเจน
  • การขาดการพยากรณ์ความต้องการสินค้า (Forecasting)
  • ขาดการควบคุมสินค้าคงคลัง (Inventory)
  • ขาดการวางแผนงานที่ดี
  • ขาดการปฏิบัติงานที่ดี
  • ขาดการติดตามผล และแก้ไขปัญหาอย่างทันท่วงที
เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวผมขอเสนอเครื่องมือ ต่างๆ ดังนี้ครับ
เครื่องมือกลุ่มที่ 1 เครื่องมือที่ใช้ในการพยากรณ์ความต้องการสินค้า
พยากรณ์ยอดขาย พยากรณ์ ยอดการใช้วัตถุดิบ เป็นต้น  โดยการพยากรณ์โดยทั่วไป แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ กกรพยากรณ์เชิงคุณภาพ (Qualitative Methods) และสอง การพยากรณ์เชิงปริมาณ (Quantitative Forecast)  มีให้เลือก 4 แบบ ตามความเหมาะสม วิธีที่นิยมเช่น ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ (Moving Average) ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบถ่วงน้ำหนัก (Weight Moving Average) วิธีการปรับเรียบเอ็กซ์โปเนนเชียนล (Exponential Smoothing) และวิธียกกำลังสองน้อยที่สุด (Least Squares Methods)
เครื่องมือกลุ่มที่ 2 เครื่องมือที่ใช้ในการวางแผน และควบคุมการผลิต (Production Planning and Controlling)
โดยควรมีความรู้เกี่ยวกับว่า วัตถุที่เราปฏิบัติ หรือ สิ่งที่เราจะทำ ประกอบด้วยอะไรบ้าง หรือเรียกว่า BOM หรือ Bill Of Material จากนั้นก็ต้องรู้ว่าต้องใช้ปัจจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อแปรเปลี่ยนวัตถุดิบ ให้กลายเป็นสินค้า ที่ต้องการ เช่น ความสามารถของกระบวนการ Process Capability ไม่ว่าจะเป็น เครื่องจักร คน กระบวนการ และเวลาที่เกี่ยวข้อง จากนั้นก็วางแผนให้เหมาะสม และสอดคล้องกับความเป็นจริงมากที่สุดครับ
เครื่องมือกลุ่มที่ 3 เครื่องมือที่ใช้ในการควบคุมสินค้าคงคลัง
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันปัญหา วัตถุดิบขาดมือ Part Shot หรือ Mat (Material) Short โดยต้องตรวจสอบทั้งวัตถุดิบ บรรจุภัณฑ์ ให้ครบถ้วน ครับ สำหรับเครื่องมือที่นิยมใช้ เช่น จุดสั่งซื้อที่เหมาะสม หรือดีที่สุด  EOQ (Economic Order Quantity) การควบคุมสินค้าให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสม (Minimum Stock) หรือจุดสั่งซื้ออีกครั้ง (Re-Order Point) เป็นต้น
                สำหรับโปรแกรมการคำนวนต่างๆ ถ้าหากสนใจ ก็สามารถเมลล์มาสอบถามได้ครับยินดีจะแลกเปลี่ยนกับทุกท่าน
 
แต่สิ่งแรก ที่สำคัญที่สุดของการนำเครื่องมือต่างๆ หรือการปฏิบัติงานต่างๆ นั้น คือต้องอาศัยผู้บริหารระดับสูง (เมื่อหัวส่าย หางก็กระดิก) ที่มีความเข้าใจ และมุ่งมั่นที่จะทำให้เกิดขึ้นจริง และต้องเข้าไปดูความเป็นจริง เพื่อที่จะวางแผนให้เหมาะสม และตรงกับความเป็นจริงของบริษัทของเรามากที่สุด
ถ้าทำอย่างนี้แล้วละก็ รับรองครับ สำเร็จล้านเปอร์เซ็นต์ ครับ

 




บทความอาจารย์ ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์

เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,253 เคล็ดลับแห่งความร่ำรวย article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,252 เคล็ดลับไ่ม่อยากจน ห้ามทำสิ่งนี้ article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,251 เคล็ดลับ Morning Talk อย่างไรให้ได้คน ได้งาน article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,250 ปัญหาบานปลายเพราะละเลยสิ่งนี้ article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,249 เปิดเหตุผลที่ทำงานไม่สำเร็จ ผลงานไม่เข้าเป้า article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,248 ลดปัญหาการส่งอีเมลล์แล้วไม่รู้เรื่อง เมื่อทำสิ่งนี้ article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,247 ข้อเตือนใจที่หัวหน้างานมักผิดพลาด article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,246 ข้อควรปฏิบัติเมื่อพนักงานทำงานล่าช้า article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,245 5 วิธีการที่พิสูจน์แล้วว่าดีที่สุดวิธีหนึ่งในการสร้างกำไร และการเติบโต TPS (TOYOTA PRODUCTION SYSTEM) article
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,244 ข้อปฏิบัติเมื่อไม่เห็นด้วยกับความคิดของหัวหน้า
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,243 ข้อปฏิบัติเมื่อพนักงานพบของเสีย หรือความผิดปกติ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,242 กิจกรรมช่วยสร้างความตระหนักในคุณภาพ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,241 5 แนวคิดหลักเพื่อเอาตัวรอด เมื่ออยู่กับคนเป็นพิษ TOXIC People
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,240 ฝันเป็นจริง เมื่อลงมือทำ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,239 การผลิตรูปแบบเก่า VS การผลิตรูปแบบใหม่
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,238 จังหวะนั้นสำคัญ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,237 จิตปล่อยวาง = สงบ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,236 ผู้นำที่ดีต้องไม่ขัดขวางความก้าวหน้าของลูกน้อง
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,235 ช่วยได้ช่วย มีน้ำใจให้ผู้อื่นนั้นสำคัญ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,234 หลุมพรางของคนขี้เกียจ



Copyright © 2010 All Rights Reserved.

อาจารย์ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์ BT CORPORATION CO,.LTD. ที่อยู่ : 100/834 ต.ลำตาเสา อ.วังน้อย
จ.พระนครศรีอยุธยา      รหัสไปรษณีย์ 13170
เบอร์โทร :  089-9273326 หรือ 089-8118340
อีเมล : tpongvarin@yahoo.com หรือ sangsankit@gmail.com
เว็บไซต์ : www.bt-training.com