ReadyPlanet.com
dot dot
dot
หลักสูตรอบรม In-house training
dot
bulletหมวดบริหารและการจัดการ
bulletหมวดการบริหารงานด้านคุณภาพ
bulletหมวดการบริหารการผลิต
bulletหมวดระบบปฏิบัติการเชิงกลยุทธ์
bulletบริการที่ปรึกษา Consulting service
bulletประวัติ ดร. ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์
bulletบทความ
bulletผลงานหนังสือ
bulletผลงานกิจกรรมอบรมที่ผ่านมา
bulletกิจกรรมเพื่อสังคม CSR
bulletหลักสูตรอบรมยอดนิยม
bulletหัวหน้างานที่เป็นเลิศ NEX NORMAL
bulletการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม QC Story แบบ Theme Achievement
bulletการบริหารเวลาเพื่อความสำเร็จ
bulletภาวะผู้นำและการเป็นหัวหน้างานที่ลูกน้องรักและบริษัทเชิดชู
bulletการพัฒนา 10 ความสามรถหลักเพื่อก้าวสู่สุดยอดหัวหน้างาน
bulletการเป็นที่ปรึกษากลุ่มกิจกรรมคิวซีซี (QCC Advisor)
bulletการดำเนินกิจกรรมกลุ่ม QCC อย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการนำ KPI ไปปฏิบัติให้บรรลุผลสำเร็จ (Effectiveness KPI Application)
bulletการเขียน Action Plan อย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการวิเคราะห์ต้นตอของปัญหาด้วย Why Why Analysis
bulletการรายงานและการนำเสนองานอย่างมีประสิทธิภาพ
bulletกลยุทธ์การแก้ไขปัญหาและตัดสินใจอย่างเป็นระบบ
bulletการดำเนินกิจกรรม 5ส. อย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการจัดการผลิตและปฎิบัติการ
bulletการควบคุมด้วยสายตา (Visual control)
bulletการลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
bulletการบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
bulletเทคนิคการเป็นวิทยากรและการสร้างหลักสูตร
bulletการสร้างจิตสำนึกคุณภาพภาคปฏิบัติ
bulletการดำเนินกิจกรรม KAIZEN ให้เกิดความต่อเนื่องและประสบผลสำเร็จ
dot
แบ่งปันความรู้
dot
dot
dot




เสียงก้องจากห้องผู้บริหารตอนที่ 67 การปรับปรุงที่แท้จริง คือ 3 สิ่งนี้

 เสียงก้องจากห้องผู้บริหารตอนที่ 67

การปรับปรุงที่แท้จริง คือ 3 สิ่งนี้

Email:tpongvarin@yahoo.com Mobile.089-8118340 www.bt-training.com

******************************************************************************

“การปรับปรุง (Improvement)” ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายว่า “แก้ไขให้เรียบร้อยยิ่งขึ้น” และถ้าจะให้นิยามคำว่า การปรับปรุง ในนิยามของคนทำงาน อาจมีความหมายถึง กิจกรรม หรือการดำเนินงานเพื่อจัดการกับงานที่ปฏิบัติ เพื่อทำให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีขึ้น ตัวอย่างการปรับปรุง เช่น การแก้ไขปัญหา การเพิ่มประสิทธิภาพ การเพิ่มผลสิทธิผล การเพิ่มผลผลิต การลดของเสีย การลดต้นทุน การเพิ่มความพึงพอใจของลูกค้า เป็นต้น

 

การปรับปรุงงาน สามารถแบ่งออกได้ 3 ระดับดังนี้ (ที่มา จากหนังสือการบริหารงานที่หน้างาน (Power of Gemba)โดย Isao Endo สำนักพิมพ์ ส.ส.ท.)

 

1. การปรับปรุงระดับต้น คือ กิจกรรมที่ผู้ที่ปฏิบัติงานปรับปรุงงานที่ตนปฏิบัติ หรือหน้างานที่รับผิดชอบได้เองโดยที่ไม่เกี่ยวข้องกับแผนกอื่น ตัวอย่างแนวทางการปรับปรุงระดับต้น ได้แก่ การลด 3MU  ดังนี้

1. MUDA ความสูญเปล่า ความสูญเสีย หรือกิจกรรมที่ทำแล้วไม่เกิดประโยชน์

2. MURA ความไม่สม่ำเสมอ เช่น การปฏิบัติงานที่บางช่วงทำงานหนัก บางช่วงเวลาว่างงาน เป็นต้น

3. MURI  เกินกำลัง ความสามารถ เช่น การปรับความเร็วของเครื่องจักรให้เร็วกว่ากว่ามาตรฐานที่กำหนด

 

 

2. การปรับปรุงระดับกลาง คือ กิจกรรมที่ผู้ปฏิบัติงานปรับปรุงการปฏิบัติงานร่วมกับแผนกที่เกี่ยวข้อง หรือแผนกใกล้เคียง เช่น การร่วมกันปรับปรุงงานกับแผนกที่ส่งวัตถุดิบให้ หรือการร่วมมือในการปรับปรุงงานกับแผนกที่รับงานต่อจากเรา เพื่อทำให้จำนวนของเสีย หรือความผิดพลาดลดน้อยลง จะสังเกตได้ว่ากิจกรรมการปรับปรุงงานระดับกลางนี้จะเกี่ยวข้องกับแผนกที่มีการปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกัน

แนวทางการปรับปรุงระดับกลาง สามารถทำได้โดยการทำข้อเสนอแนะ (IS :Idea Suggestion) 5ส POKA YOKE หรือการดำเนินกิจกรรม QCC เป็นต้น

 

 

3. การปรับปรุงระดับสูง คือ กิจกรรมที่ผู้ปฏิบัติงาน ร่วมมือกันทั้งองค์กรตามสายการผลิต Production Line เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงาน หรือยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติงานในทุกกระบวนการทั้งหมดให้สูงขึ้น และสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ซับพลายเออร์ ผู้ที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ที่มีส่วนได้ ส่วนเสีย (Stakeholder) อีกด้วย สำหรับแนวทางการปรับปรุงระดับกลาง นั้นนอกจากจะใช้กิจกรรมพื้นฐานของการปรับปรุงกิจกรรมระดับกลางแล้ว แล้ว ยังอาจต้องมีการประยุกต์ใช้เครื่องมืออื่นๆเข้ามาเพิ่มเติมอีกมาก ซึ่งการปรับปรุงระดับสูงนี้อาศัยเวลา ทรัพยากร ซึ่งผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคนต้องมีความทุ่มเทเป็นอย่างมากการปรับปรุงระดับสูงจึงจะประสบความสำเร็จได้

 

#ดร.ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์
#Thongpunchang Pongvarin
#bt-training.com
#Managemnet GURU
Mobile:0898118340

ดร.ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์

Facebook:Management GURU by Dr.Thong BT

Email:tpongvarin@yahoo.com

Mobile.089-8118340 

Www.bt-training.com ครับ

******************************

 




บทความอาจารย์ ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์

เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,695 10 วลีทองของผู้นำ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,694 พูดให้ลูกน้องรัก
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,693 เทคนิคลบคำสบประมาท
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,692 สื่อสารยามวิกฤติ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,691 สมุดบันทึกผู้นำ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,690 การสร้างความสามัคคี
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,689 การพัฒนา Comptetency ความสามารถในการปรับตัว Adaptability
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,688 การพัฒนา Comptetency การชั่งสังเกต Observating
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,687 ความเชี่ยวชาญในงาน
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,686 คิดไปข้างหน้า Forward Thinking
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,685 FLEX MODEL ยืดหยุ่นเข้าใว้
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,684 อย่ามีอคติกับลูกน้อง
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,683 คำถาม GEMBA
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,682 หัวใจ GEMBA
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,681 ขั้นตอนการ GEMBA จากเซนเซ
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,680 GEMBA WALK
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,679 เดินดูหน้างาน ให้เห็นของจริง คือหัวใจของหัวหน้างาน
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,678 ทำดีจริง ต้องทำต่อหน้า และลับหลัง
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,677 คน 4 ประเภทในห้องประชุม
เสียงก้องจากห้องผู้บริหาร กับ ดร.ทองพันชั่ง No.1,676 ทำงานจนประสบความสำเร็จ



Copyright © 2010 All Rights Reserved.

อาจารย์ทองพันชั่ง พงษ์วารินทร์ BT CORPORATION CO,.LTD. ที่อยู่ : 100/834 ต.ลำตาเสา อ.วังน้อย
จ.พระนครศรีอยุธยา      รหัสไปรษณีย์ 13170
เบอร์โทร :  089-9273326 หรือ 089-8118340
อีเมล : tpongvarin@yahoo.com หรือ sangsankit@gmail.com
เว็บไซต์ : www.bt-training.com